1. Arrange students into groups. Each group needs at least ONE person who has a mobile device.
2. If their phone camera doesn't automatically detect and decode QR codes, ask students to
4. Cut them out and place them around your class / school.
1. Give each group a clipboard and a piece of paper so they can write down the decoded questions and their answers to them.
2. Explain to the students that the codes are hidden around the school. Each team will get ONE point for each question they correctly decode and copy down onto their sheet, and a further TWO points if they can then provide the correct answer and write this down underneath the question.
3. Away they go! The winner is the first team to return with the most correct answers in the time available. This could be within a lesson, or during a lunchbreak, or even over several days!
4. A detailed case study in how to set up a successful QR Scavenger Hunt using this tool can be found here.
Question | Answer |
1. ข้อใดไม่ใช่การแสดงของไทย | ลีลาศ | 2. การแสดงโขนไม่ได้มีที่มาจากอะไร | การละเล่นพื้นบ้าน | 3. การแสดงโขนมีมาตั้งแต่สมัยใด | สมัยกรุงศรีอยุธยา | 4. การเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์มีเรื่องราวเกี่ยวข้องกับสิ่งใดบ้าง | การกวนน้ำ ,เกษียรสมุทร, น้ำอมฤต, เขามนคีรี, ยักษ์, เทวดา | 5. การเล่นกระบี่กระบองมีประโยชน์อย่างไร | สามารถต่อสู้และป้องกันตัว ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง | 6. การแสดงหนังใหญ่มีอิทธิพลต่อโขนอย่างไร | เรื่องที่แสดง และลีลาศการเชิดหนังใหญ่ | 7. เพราะเหตุใดจึงถือว่าโขนเป็นศิลปะการแสดงขั้นสูง | เป็นการแสดงที่พัฒนามาจากการแสดงชักนาคดึกดำบรรพ์ หนังใหญ่ กระบี่กระบอง เป็นศิลปะที่มีความงดงามในทุกๆด้าน จึงถือว่าเป็นศิลปะชั้นสูง | 8. ผู้แสดงโขนที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร | มีรูปร่างบุคลิกเหมาะสมกับตัวละครรำได้สวยงาม | 9. โขนได้รับการขึ้นทะเบียนในหัวข้ออะไรจากยูเนสโก | มรดกโลกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ | 10. ละครรำดั้งเดิมของไทยชนิดใดเกิดขึ้นมาเป็นชนิดแรก | ละครชาตรี | 11. ละครชาตรีนิยมแสดงเรื่องใด | พระสุธน-มโนราห์ | 12. ละครชาตรีมีตัวละครสำคัญกี่คนและบทบาทอะไรบ้าง | นายโรง ตัวนาง ตัวตลก | 13. ละครนอกมีลักษณะและรูปแบบการแสดงอย่างไร | .ใช้ผู้ชายเล่น ไม่พิถีพิถันในความงดงามของการร่ายรำ ต้องการความว่องไว ดำเนินการรวดเร็ว แทรกมุขตลก ค่อนข้าหยาบคาย | 14. ละครนอกนิยมแสดงเรื่องใดบ้าง | สังข์ทอง การะเกด แก้วหน้าม้า คาวี | 15. ละครรำชนิดใดที่เกิดขึ้นในพระราชฐานชั้นใน | ละครใน | 16. ละครในนิยมแสดงเรื่องใด | รามเกียรติ์ อิเหนา อุณรุท | 17. ละครในมีคุณสมบัติอย่างไร | ผู้แสดงหญิงล้วน มีระเบียบแบบแผน แต่งกายยืนเครื่อง | 18. ละครในมีลักษณะแตกต่างจากละครสากลกันอย่างไร | ละครในเป็นละครไทยที่ที่งดงาม มีท่าร่ายรำสวยงาม แต่ละครสากลจะมีการแต่งกายสมัยใหม่ เน้นคำพูด เน้นเรื่องราววิถีชีวิต | 19. ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดละครชนิดใด | ละครดึกดำบรรพ์ | 20. ละครดึกดำบรรพ์มีการแสดงแบบใด | ผู้แสดงจะรำเองร้องเองและเจรจาเอง | 21. ละครดึกดำบรรพ์ได้อิทธิพลมาจากการแสดงชุดใด | ละครโอเปร่า | 22. ละครดึกดำบรรพ์มีการผสมวงปี่พาทย์ขึ้นใหม่เรียกว่าวงอะไร | วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ | 23. ละครรำชนิดใดที่เน้นเนื้อเรื่องเกี่ยวกับชาวต่างชาติ | ละครพันทาง | 24. ละครพันทางเป็นการผสมผสานอะไร เพื่อช่วยเสริมในการดำเนินเรื่องให้สมจริง | สำเนียงเพลง ท่ารำและการแต่งกายของชาติเหล่านั้น | 25. ละครดึกดำบรรพ์แตกต่างจากละครพันทางอย่างไร | ละครดึกดำบรรพ์จะแสดงแบบลักษณะอุปรากร ละครพันทางจะแสดงเกี่ยวกับเรื่องต่างชาติ ต่างภาษา | 26. ละครเสภาเกิดขึ้นในสมัยใด | รัชกาลที่ 4 | 27. ละครเสภา แต่งกายอย่างไร | แต่งกายแบบละครพันทาง | 28. ละครเสภา นิยมแสดงเรื่องใด | ขุนช้างขุนแผน | 29. ละครเสภาใช้วงดนตรีประเภทใด | เครื่องห้า เครื่องคู่หรือเครื่องใหญ่ | 30. ละครเสภามีลักษณะเด่นอย่างไร | มีการขับเสภาเล่าเรื่องประกอบการแสดง | 31. ลิเกมีวิวัฒนาการจากการแสดงอะไร | ลำตัด และลิเกทรงเครื่อง | 32. ลิเกจะเริ่มต้นการแสดงด้วยการแสดงใด | ออกแขก | 33. เมื่อเริ่มแสดงลิเก ผู้แสดงจะต้องร้องดำเนินเรื่องด้วยคำกลอนใด | กลอนหก | 34. ในการบรรเลงดนตรีรับของลิเก จะมีเครื่องดนตรีใดเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ | ตะโพน | 35. การแสดงลิเก เป็นการแสดงที่ผู้แสดงต้องแสดงอย่างไร | ผู้แสดงร้องเอง ร่ายรำเอง | 36. การแสดงลิเก มีความงดงามอย่างไร | ท่าร่ายรำ เครื่องแต่งกาย การขับร้องไพเราะ | 37. การแสดงลิเก ในปัจจุบันแตกต่างจากอดีตอย่างไร | ปัจจุบันจะเน้นเรื่องราวทันสมัยเสื้อผ้าสวยงามระยิบระยับ | 38. ละครสากลที่นำมาแสดงบนเวทีเรียกว่าอะไร | ละครเวที | 39. ละครที่แสดงทางโทรทัศน์เรียกว่าอะไร | ละครโทรทัศน์ | 40. ศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการร่ายรำตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า เพื่อสื่อความหมายของท่ารำเรียกว่าอะไร | นาฏยศัพท์ | 41. คำศัพท์เฉพาะที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง | 2 ประเภท | 42. การใช้นิ้วให้เหมือนมีบางสิ่งมาดึงอยู่ที่ปลายนิ้วเป็นนาฏยศัพท์ข้อใด | จีบปรกหน้า | 43. การยกเท้าขึ้นด้านหลังในลักษณะส่งเข่าไปด้านหลังให้สูงที่สุด โดยไม่ต้องเอนตัวไปด้านหน้า คือนาฏยศัพท์ใด | กระดก | 44. ภาษาท่า หมายถึงอะไร | ภาษาที่ใช้เรียกท่าทางกิริยาอาการที่แสดงออกของมนุษย์ | 45. ท่ารัก มีลักษณะอย่างไร | ประสานมือทาบฐานไหล่ เปิดปลายนิ้ว | 46. ท่าโกรธ มีลักษณะอย่างไร | ใช้ฝ่ามือถูข้างแก้มแล้วกระชากลง | 47. ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ หมายถึงอะไร | ภาษาท่าที่ใช้ในนาฏศิลป์ เป็นท่าทางที่ปฏิบัติทั่วไปในการแสดง | 48. ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ท่าเดินตัวพระกับตัวนางแตกต่างกันอย่างไร | ตัวนางไม่ก้นข้อศอก ตัวพระกันข้อศอก | 49. ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ใดที่แทนความรู้สึกและอารมณ์ | ท่ารัก | 50. การตีบทหมายถึงข้อใด | การรำตามบทร้องเนื้อเรื่องเป็นท่ารำ | 51. การตีบทมีประโยชน์ต่อการแสดงนาฏศิลป์ไทยอย่างไร | ทำให้ท่ารำประกอบการแสดงที่สวยงาม | 52. การแสดงท่ารำของไทยมีความงดงามต่างจากการแสดงท่ารำของต่างชาติอย่างไร | มีความอ่อนช้อย อ่อนหวาน งดงามมากกว่า | 53. สิ่งสำคัญที่สุดในการแสดงระบำคืออะไร | ความพร้อมเพรียง | 54. ระบำอัศวลีลา เป็นการแสดงที่มีลักษณะเกี่ยวกับสิ่งใด | ความสง่างามแข็งแรงของม้า | 55. เพลงดวงจันทร์ขวัญ¬ฟ้าใช้ท่ารำในข้อใด | ท่ารำชะนีร่ายไม้และจ่อเพลิงกาฬ | 56. การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองหมายถึงอะไร | ศิลปะการละเล่น หรือการแสดง ระบำ รำ ฟ้อนประกอบดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะในท้องถิ่น | 57. ฟ้อนสาวไหม จัดเป็นการแสดงของภาคใด | ภาคเหนือ | 58. นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้ ส่วนใหญ่จะเป็นการผสมผสานของวัฒนธรรมใด | ชาวมลายู | 59. ลีลาศ มีที่มาจากอะไร | การเต้นรำพื้นเมือง | 60. บัลเลต์มีรูปแบบการแสดงที่พัฒนามาจากสิ่งใด | ละครไมม์ |
Question 1 (of 60)
Question 2 (of 60)
Question 3 (of 60)
Question 4 (of 60)
Question 5 (of 60)
Question 6 (of 60)
Question 7 (of 60)
Question 8 (of 60)
Question 9 (of 60)
Question 10 (of 60)
Question 11 (of 60)
Question 12 (of 60)
Question 13 (of 60)
Question 14 (of 60)
Question 15 (of 60)
Question 16 (of 60)
Question 17 (of 60)
Question 18 (of 60)
Question 19 (of 60)
Question 20 (of 60)
Question 21 (of 60)
Question 22 (of 60)
Question 23 (of 60)
Question 24 (of 60)
Question 25 (of 60)
Question 26 (of 60)
Question 27 (of 60)
Question 28 (of 60)
Question 29 (of 60)
Question 30 (of 60)
Question 31 (of 60)
Question 32 (of 60)
Question 33 (of 60)
Question 34 (of 60)
Question 35 (of 60)
Question 36 (of 60)
Question 37 (of 60)
Question 38 (of 60)
Question 39 (of 60)
Question 40 (of 60)
Question 41 (of 60)
Question 42 (of 60)
Question 43 (of 60)
Question 44 (of 60)
Question 45 (of 60)
Question 46 (of 60)
Question 47 (of 60)
Question 48 (of 60)
Question 49 (of 60)
Question 50 (of 60)
Question 51 (of 60)
Question 52 (of 60)
Question 53 (of 60)
Question 54 (of 60)
Question 55 (of 60)
Question 56 (of 60)
Question 57 (of 60)
Question 58 (of 60)
Question 59 (of 60)
Question 60 (of 60)